วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สรุปวิจัย
การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ชื่อผู้วิจัย สายทิพย์ ศรีแก้วทุม
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร


วัตถุประสงค์
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

สมมติฐานการวิจัย
ความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

วิธีการดำเนินการวิจัย 
นักเรียนชั้นอนุบาล2 อายุ 5-6 ปี ใช้การสุ่มอย่างง่ายห้องเรียนมา1 ห้องจากห้องเรียน 2ห้องแล้วจับฉลาดรายชื่อนักเรียนเข้าสู่การทดลองและกลุ่มควบคุมอย่างละ15คนรวมเป็นทั้งหมด 30 คน
เครื่องในการวิจัย

เครื่องที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย  1. แผนการสอนกิจกรรมสร้างสรรค์ 2, แบบปกติและแบบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผลแบ่งเป็น5 ด้าน คือการจำแนกการจัดประเภท การอุปมาอุปามัย อนุกรมและสรุปความ

ช่วงเวลาการทดลอง

ภาคเรียนที่1 เป็นเวลา8 สัปดาห์

วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล

วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยนเบนมาตรฐาน
การเปรีบยเทียบความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม

ผลการวิจัย

เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีคะแนนเฉลี่ยความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผลสูงกว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์แบบปกติ

วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ครั้ง ที่ 16

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

วันที่ 02 ธันวาคม  2557

ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูของแต่ละคน
เพื่อนได้นำเสนอเรื่อง  
วิจัย
-การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
-ผลการจัดประสบการที่เน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ-โครงงานกับแบบสืบเสาะหาความรู้
-ทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
โทรทัศน์ครู
-สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับกิจกรรม 5 ประสาทสัมผัส
-วิทยาศาสตร์สนุก
-เสียงและการได้ยิน
-ผงวิเศษช่วยชีวิต
หลังจากนำเสนอเรียบร้อยแล้ว อาจารย์ก็ให้ทำงานกลุ่มต่อ 
ภาพกิจกรรม










การนำไปใช้
เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ สามารถนำความรู้ที่ได้วันนี้ไปเผยแผ่ให้กับเด็กได้เพราะในชีวิตประจำวันนี้วิทยาศาสตร์สำคัญ กับเด็กมาก จากการฟังที่เพื่อนนำเสนอสามารถนำไปใช้สอนได้ เช่นเรื่อง ผงวิเศษช่วยชีวิต

การประเมินผล


ประเมินตนเอง = แต่งกายเรียนร้อย มีส่วนร่วมกันมนตอบคำถาม

ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอโทรทัศน์ครู และวิจัย เพื่อนทำขนมอย่างสนุกสนาม

ประเมินผู้สอน =อาจารย์ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโทรทัศน์ครูและวิจัย และยังให้คำแนะนำเกี่ยวกับแผนอีกด้วย